ทำวัตรเช้า

โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ

สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม

สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ

ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง

อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ

สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ

ปัจฉิมาชะนะตานุกัมปะมานะสา

อิเม สักกาเร ทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ

อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ ฯ

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา

พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)

สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม

ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ

สังฆัง นะมามิ (กราบ)

 

( นำ) หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส ฯ

( รับ) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ


( นำ) หันทะ มะยัง พุทธาภิถุติง กะโรมะ เส ฯ

( รับ) โย โส ตะถาคะโต อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะ-

สัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา-

เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา , โย อิมัง โลกัง สะเทวะกัง

สะมาระกัง สะพรัหมะกัง , สัสสะมะณะพราหมะณิง ปะชัง สะเทวะ-

มะนุสสัง สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัตวา ปะเวเทสิ, โย ธัมมัง เทเสสิ

อาทิกัลยาณัง มัชเฌกัลยาณัง ปะริโยสานะกัลยาณัง , สาตถัง

สะพยัญชะนัง เกวะละปะริปุณณัง ปะริสุทธัง พรัหมะจะริยัง

ปะกาเสสิ , ตะมะหัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ ตะมะหัง ภะคะวันตัง

สิระสา นะมามิ ฯ

( กราบ)

 

( นำ) หันทะ มะยัง ธัมมาภิถุติง กะโรมะ เส ฯ

( รับ) โย โส สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก

เอหิปัสสิโก , โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ, ตะมะหัง

ธัมมัง อะภิปูชะยามิ ตะมะหัง ธัมมัง สิระสา นะมานิ ฯ

( กราบ)

 

( นำ) หันทะ มะยัง สังฆาภิถุติง กะโรมะ เส ฯ

( รับ) โย โส สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน

ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ , ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต

สาวะกะสังโฆ , สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง

จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา , เอสะ ภะคะวะโต

สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย ,

อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ , ตะมะหัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ

ตะมะหัง สังฆัง สิระสา นะมามิ ฯ

( กราบ)

( นั่งพับเพียบ)

 

( นำ) หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถาโย เจวะ สังเวคะ

ปะริกิตตะนะ ปาฐัญจะ ภะณามะ เส ฯ

( รับ) พุทโธ สุสุทโธ กะรุณามะหัณณะโว

โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน

โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก

วันทามิ พุทธัง อะหะมาทะเรนะ ตัง

ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน

โย มัคคะปากามะตะเภทะภินนะโก

โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน

วันทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง

สังโฆ สุเขตตาภะยะติเขตตะสัญญิโต

โย ทิฏฐะสันโต สุคะตานุโพธะโก

โลลัปปะหีโน อะริโย สุเมธะโส

วันทามิ สังฆัง อะหะมาทะเรนะ ตัง

อิจเจวะเมกันตะภิปูชะเนยยะกัง

วัตถุตตะยัง วันทะยะตาภิสังขะตัง

ปุญญัง มะยา ยัง มะมะ สัพพุปัททะวา

มา โหนตุ เว ตัสสะ ปะภาวะสัทธิยา ฯ

( ถ้ามีเวลาพอ ให้สวด สังเวคะปะริกิตตะนะปาฐะ ต่อไปนี้)

 

อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปปันโน อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ,

ธัมโม จะ เทสิโต นิยยานิโก อุปะสะมิโก ปะรินิพพานิโก

สัมโพธะคามี สุคะตัปปะเวทิโต , มะยันตัง ธัมมัง สุตวา เอวัง

ชานามะ , ชาติปิ ทุกขา ชะราปิ ทุกขา, มะระณัมปิ ทุกขัง,

โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา , อัปปิเยหิ สัมปะโยโค

ทุกโข ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ

ทุกขัง , สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา, เสยยะถีทัง,

รูปูปาทานักขันโธ , เวทะนูปาทานักขันโธ, สัญญูปาทานักขันโธ,

สังขารูปาทานนักขันโธ , วิญญาณูปาทานักขันโธ, เยสัง ปะริญญายะ,

ธะระมาโน โส ภะคะวา , เอวัง พะหุลัง สาวะเก วิเนติ, เอวัง

ภาคา จะ ปะนัสสะ ภะคะวะโต สาวะเกสุ อะนุสาสะนี พะหุลา

ปะวัตตะติ , รูปัง อะนิจจัง, เวทะนา อะนิจจา, สัญญา อะนิจจา,

สังขารา อะนิจจา , วิญญาณัง อะนิจจัง, รูปัง อะนัตตา, เวทะนา

อะนัตตา , สัญญา อะนัตตา, สังขารา อะนัตตา, วิญญาณัง อะนัตตา,

สัพเพ สังขารา อะนิจจา , สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ, เต มะยัง

โอติณณามะหะ ชาติยา ชะรามะระเณนะ , โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ

โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ , ทุกโขติณณา ทุกขะปะเรตา,

อัปเปวะนามิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยา

ปัญญาเยถาติ , จิระปะรินิพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง อุททิสสะ

อะระหันตัง สัมมาสัมพุทธัง , สัทธา อะคารัสมา อะนะคาริยัง

ปัพพะชิตา , ตัสมิง ภะคะวะติ พรัหมะจะริยัง จะรามะ,

ภิกขูนัง สิกขาสาชีวะสะมาปันนา , ตัง โน พรัหมะจะริยัง อิมัสสะ

เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตูติ ฯ

 

( สามเณรสวดพึงลดคำว่า ภิกขูนัง สิกขาสาชีวะสะมาปันนา

ที่ขีดเส้นใต้ออกเสีย ถ้าคฤหัสถ์สวด ตั้งแต่ อิธะ ตะถาคะโต จนถึง

ปัญญาเยถาติ แล้วสวดดังนี้ จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง

สะระณัง คะตา ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ ตัสสะ ภะคะวะโต

สาสะนัง ยะถาสะติ ยะถาพะลัง มะนะสิกะโรมะ อะนุปะฏิปัชชามะ

สา สา โน ปะฏิปัตติ อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ

อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ ฯ อนึ่ง ถ้าสตรีสวด เต มะยัง นั้น ให้

แปลงเป็น ตา มะยัง บทว่า ปะรินิพพานิโก มีในฉบับ สีหฬ เป็น

ปะรินิพพายิโก ฉะนี้ทุกแห่ง)

 

บทพิจารณาสังขาร

( หันทะ มะยัง ธัมมะสังเวคะปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส)

สัพเพ สังขารา อะนิจจา สังขารคือร่างกายจิตใจ , แลรูปธรรมนามธรรมทั้งหมดทั้งสิ้น,
มันไม่เที่ยง, เกิดขึ้นแล้วดับไปมีแล้วหายไป

สัพเพ สังขารา ทุกขา สังขารคือร่างกายจิตใจ, แลรูปธรรม
นามธรรม ทั้งหมดทั้งสิ้น, มันเป็นทุกข์ทนยาก, เพราะเกิดขึ้นแล้วแก่เจ็บตายไป

สัพเพ ธัมมา อะนัต ตา สิ่งทั้งหลายทั้งปวง, ทั้งที่เป็นสังขาร
แลมิใช่สังขารทั้งหมดทั้งสิ้น, ไม่ใช่ตัวไม่ใช่ตน, ไม่ควรถือว่าเรา
ว่าของเรา ว่าตัว ว่าตน ของเรา

อะธุวัง ชีวิตัง ชีวิตเป็นของไม่ยั่งยืน

ธุวัง มะระณัง ความตายเป็นของยั่งยืน

อะวัสสัง มะยา มะริตัพพัง อันเราจะพึงตายเป็นแท้

มะระณะปะริโยสานัง เม ชีวิตัง ชีวิตของเรามีความตายเป็นที่สุดรอบ

ชีวิตัง เม อะนิยะตัง ชีวิตของเราเป็นของไม่เที่ยง

มะระณัง เม นิยะตัง ความตายของเราเป็นของเที่ยง

วะตะ ควรที่จะสังเวช

อะยัง กาโย ร่างกายนี้

อะจิรัง มิได้ตั้งอยู่นาน

อะเปตะวิญญาโณ ครั้นปราศจากวิญญาณ

ฉุฑโฑ อันเขาทิ้งเสียแล้ว

อะธิเสสสะติ จักนอนทับ

ปะฐะวิง ซึ่งแผ่นดิน

กะลิงคะรัง อิวะ ประดุจดังว่าท่อนไม้และท่อนฟืน

นิรัตถัง หาประโยชน์มิได้แล

อะนิจจา วะตะ สังขารา สังขารทั้งหลายไม่เที่ยงหนอ

อุปปาทะวะยะธัมมิโน มีความเกิดขึ้นแล้วมีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา

อุปปัชชิต๎วา นิรุชฌันติ ครั้นเกิดขึ้นแล้วย่อมดับไป

เตสัง วูปะสะโม สุโข ความเข้าไปสงบระงับสังขารทั้งหลาย,
เป็นความสุขอย่างยิ่ง

สัพเพ สัตตา มะรันติ จะ สัตว์ทั้งหลาย ทั้งปวงกำลังตายอยู่

มะริงสุ จะ มะริสสะเร ที่ตายแล้ว และกำลังจะตาย

ตะเถวะหัง มะริสสามิ เราก็จักตายอย่างนั้นเหมือนกัน

นัตถิ เม เอตถะ สังสะโย ความสงสัยในความตายนี้,
ย่อมไม่มีแก่เราเลย ฯ

 

ตังขะณิกะปัจจะเวกขะณะวิธี

หันทะ มะยัง ตังขะณิกะปัจจะเวกขะณะ ปาฐัง ภะณามะ เส ฯ

ปะฏิสังขา โยนิโส จีวะรัง ปะฏิเสวามิ, ยาวะเทวะ สีตัสสะ

ปะฏิฆาตายะ , อุณหัสสะ ปะฏิฆาตายะ, ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริง-

สะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ, ยาวะเทวะ หิริโกปินะปะฏิจฉาทะนัตถัง ฯ

ปะฏิสังขา โยนิโส ปิณฑะปาตัง ปะฏิเสวามิ , เนวะ ทวายะ

นะ มะทายะ นะ มัณฑะนาย นะ วิภูสะนายะ , ยาวะเทวะ อิมัสสะ

กายัสสะ ฐิติยา ยาปะนายะ วิหิงสุปะระติยา พรัหมมะจะริยานุคคะหายะ ,

อิติ ปุราณัญจะ เวทะนัง ปะฏิหังขามิ นะวัญจะ เวทะนัง นะอุปปาเทสสามิ ,

ยาตรา จะ เม ภะวัสสะติ อะนะวัชชะตา จะ ผาสุวิหาโร จาติ ฯ

ปะฏิสังขา โยนิโส เสนาสะนัง ปะฏิเสวามิ , ยาวะเทวะ สีตัสสะ

ปะฏิฆาตายะ , อุณหัสสะ ปะฏิฆาตายะ, ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริง-

สะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ , ยาวะเทวะ อุตุปะริสสะยะวิโนทะนัง

ปะฏิสัลลานารามัตถัง ฯ

ปะฏิสังขา โยนิโส คิลานะปัจจะยะเภสัชชะปะริกขารัง

ปะฏิเสวามิ , ยาวะเทวะ อุปปันนานัง เวยยาพาธิกานัง เวทะนานัง

ปะฏิฆาตายะ , อัพยาปัชฌะปะระมะตายาติ ฯ

 

ธาตุปะฏิกูละปัจจะเวกขะณะวิธี

หันทะ มะยัง ธาตุปะฏิกูละปัจจะเวกขะณะ ปาฐัง ภะณามะ เส ฯ

ยะถาปัจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง ยะทิทัง

จีวะรัง ฯ ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล ธาตุมัตตะโก นิสสัตโต

นิชชีโว สุญโญ ฯ สัพพานิ ปะนะ อิมานิ จีวะรานิ อะชิคุจฉะนียานิ

อิมัง ปูติกายัง ปัตวา อะติวิยะ ชิคุจฉะนียานิ ชายันติ ฯ

ยะถาปัจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง ยะทิทัง

ปิณฑะปาโต ฯ ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคลโล ธาตุมัตตะโก

นิสสัตโต นิชชีโว สุญโญ ฯ สัพโพ ปะนายัง ปิณฑะปาโต

อะชิคุจฉะนีโย อิมัง ปูติกายัง ปัตวา อะติวิยะ ชิคุจฉะนีโย ชายะติ ฯ

ยะถาปัจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง ยะทิทัง

เสนาสะนัง ฯ ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล ธาตุมัตตะโก นิสสัตโต

นิชชีโว สุญโญ ฯ สัพพานิ ปะนะ อิมานิ เสนาสนะนานิ อะชิคุจฉะนียานิ

อิมัง ปูติกายัง ปัตวา อะติวิยะ ชิคุจฉะนียานิ ชายันติ ฯ

ยะถาปัจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง ยะทิทัง

คิลานะปัจจะยะเภสัชะปะริกขาโร ฯ ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล

ธาตุมัตตะโก นิสสัตโต นิชชีโว สุญโญ ฯ สัพโพ ปะนายัง

คิลานะปัจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร อะชิคุจฉะนีโย อิมัง ปูติกายัง

ปัตวา อะติวิยะ ชิคุจฉะนีโย ชายะติ ฯ

( เมื่อจบบท ตังขะณิกะปัจจะเวกขะณะวิธีแล้ว มีการสวดมนต์

บทต่าง ๆ เช้าละ ๑ บทบ้าง ๒ บทบ้าง หมุนเวียนกันไป แล้วจึงขึ้นบท

ปัตติทานะคาถา ต่อไปนี้เป็นบทสุดท้าย)

 

ถวายพรพระ

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ฯ

( ว่า ๓ หน)

อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะ-

สัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา

เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ ฯ

สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก

เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ ฯ

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน

ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ

สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะ-

ยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ

อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง

ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ ฯ

พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง

ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง

ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง

โฆรัมปะนาฬะวะมักขะมะถัทธะยักขัง

ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง

ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง

เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง

ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง

อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

กัตวานะ กิฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา

จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ

สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง

วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง

ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง

ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต

อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง

พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง

ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา

โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที

หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ

โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ ฯ

 

มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง

ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง

เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง ฯ

 

ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน

เอวัง ตวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล

อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร

อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ ฯ

สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง

สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจาริสุ

ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง

ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา

ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ ฯ

 

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา

สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา

สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา

สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ

 

ปัตติทานะคาถา

( นำ) หันทะ มะยัง ปัตติทานะ คาถา โย ภะณามะ เส ฯ

( รับ) ยา เทวะตา สันติ วิหาระวาสินี

ถูเป ฆะเร โพธิฆะเร ตะหิง ตะหิง

ตา ธัมมะทาเนนะ ภะวันเต ปูชิตา

โสตถิง กะโรนเตธะ วิหาระมัณฑะเล

เถรา จะ มัชฌา นะวะกา จะ ภิกขะโว

สารามิกา ทานะปะตี อุปาสะกา

คามา จะ เทสา นิคะมา จะ อิสสะรา

สัปปาณะภูตา สุขิตา ภะวันตุ เต

ชะลาพุชา เยปิ จะ อัณฑะสัมภะวา

สังเสทะชาตา อะถะโวปะปาติกา

นิยยานิกัง ธัมมะวะรัง ปะฏิจจะ เต

สัพเพปิ ทุกขัสสะ กะโรนตุ สังขะยัง ฯ

ฐาตุ จิรัง สะตัง ธัมโม ธัมมัทธะรา จะ ปุคคะลา

สังโฆ โหตุ สะมัคโค วะ อัตถายะ จะ หิตายะ จะ

อัมเห รักขะตุ สัมธัมโม สัพเพปิ ธัมมะจาริโน

วุฑฒิง สัมปาปุเณยยามะ ธัมเม อะริยัปปะเวทิเต ฯ

ปะสันนา โหนตุ สัพเพปิ ปาณิโน พุทธะสาสะเน

สัมมา ธารัง ปะเวจฉันโต กาเล เทโว ปะวัสสะตุ

วุฑฒิภาวายะ สัตตานัง สะมิทธัง เนตุ เมทะนิง

มาตา ปิตา จะ อัตระชัง นิจจัง รักขันติ ปุตตะกัง

เอวัง ธัมเมนะ ราชาโน ปะชัง รักขันตุ สัพพะทา ฯ

 

บทวันทา
(นั่งคุกเข่าประนมมือ)
อุกาสะ วันทามิ ภันเต เจติยัง สัพพัง สัพพัตถะ ฐาเน สุปะติฏฐิตัง

สารีริกะธาตุ มะหาโพธิง พุทธะรูปัง สะกะลัง วะจะสา มะนะสา เจวะ

วันทาเมเต ตะถาคะเต สะยะเน อาสะเน ฐาเน คะมะเน จาปิ สัพพะทาฯ ( กราบ)

 

อุกาสะ วันทามิ ภันเต สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต มะยา

กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง สามินา กะตัง ปุญญัง มัย๎หัง ทาตัพพัง

สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ ฯ ( กราบ)


บทสวดวันทาครูบาอาจารย์
อุกาสะ วันทามิ ภันเต อาจาริเย สังโฆ อะนุตตะรัง

สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต มะยา กะตัง

ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง สามินา กะตัง ปุญญัง

มัย๎หัง ทาตัพพัง สาธุ สาธุ อะนุโมทามิฯ ( กราบ)

 

คำสมาทานพระกรรมฐาน

อิมาหัง ภันเต ภะคะวา อัตตะภาวัง

ตัสสะ ภะคะวะโต ปะริจจัชชามิ

- ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย

ขอมอบอัตภาพร่างกายและชีวิต แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า

เพื่อปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ตามเวลาอันสมควรต่อไป


นิพพานัสสะ เม ภันเต สัจฉิกะระณัตถายะ วิปัสสะนา-

กัมมัฏฐานัง เทหิ

- อุกาสะ อุกาสะ สาธุ สาธุ ณ โอกาสบัดนี้

ข้าพเจ้าจะขอสมาทานเอา ซึ่งพระกรรมฐานทั้ง ๒ คือ สมถกรรมฐาน

และวิปัสสนากรรมฐาน ขอขณิกะสมาธิ อุปะจาระสมาธิ อัปปะณาสมาธิ

จงบังเกิดมีในจิตตะสันดานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจะตั้งสติกำหนดไว้

ที่ลมหายใจเข้าออก ลมหายใจเข้ารู้ ลมหายใจออกรู้ รู้สามหนและเจ็ดหน

รู้ร้อยหนและพันหน ด้วยความไม่ประมาท ขอวิปัสสนาญาณ

คือดวงธรรมอันประเสริฐ จงบังเกิดมีใน จักขุทะวาร โสตะทะวาร

ฆานะทะวาร ชิวหาทะวาร กายะทะวาร มะโนทะวาร ของข้าพเจ้า

ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไปเทอญ.

 

คำแผ่เมตตา แบบที่ ๑

ข้าพเจ้าขอตั้งจิตอุทิศผล บุญกุศลนี้แผ่ไปให้ไพศาล

ถึงบิดามารดา ครูอาจารย์ ทั้งลูกหลานญาติมิตรสนิทกัน

คนเคยรักเคยชังแต่ครั้งไหน ขอให้มีส่วนได้ในกุศลผลของฉัน

ทั้งเจ้ากรรมนายเวรและเทวัน ขอให้ท่านได้กุศลผลนี้เทอญ

ข้าพเจ้าขอตั้งสัจจะอธิษฐาน ด้วยอำนาจแห่งบุญและกุศล

ที่ข้าพเจ้าได้บำเพ็ญแล้วในวันนี้ ขอจงเป็นพะละวะปัจจัย

เป็นอุปนิสัยตามส่ง ให้ข้าพเจ้าเกิดสติปัญญาญาณ

ทั้งในชาตินี้และชาติหน้า ตลอดจนชาติอย่างยิ่ง

จนถึงความพ้นทุกข์ คือพระนิพพานเทอญ ฯ

 

คำแผ่เมตตา แบบที่ ๒

      อิมินา ปุญญะกัมเมนะ ข้าพเจ้าขออุทิศส่วนบุญนี้, ให้ถึง

พระภูมิเจ้าที่, พระภูมินทารี, แม่พระธรณี, แม่พระคงคา, พญายมราช,

ที่สูงถึงพรหมา, อยู่ภายใต้อเวจี, โดยรอบขอบจักรวาล

อิมินา ปุญญะกัมเมนะ ข้าพเจ้าขออุทิศส่วนบุญนี้, ให้ถึง

พระบิดาพระมารดา, ญาติกาทุกหมู่, ครูบาอาจารย์, บุญนี้ที่ข้าทำ,

ขอให้เป็นข้าวน้ำ, เครื่องทิพย์นานา, เป็นวิมานทอง, เรืองรองโสภา,

ฝูงเปรตทั้งหลาย, นรกอสุรกาย, สัตว์ทั้งหลายทั้งผอง,

จงตั้งใจปอง, รับเอาส่วนบุญ, อย่าได้มีเวรต่อกันและกันเลย,

เทพเจ้าทั้งหลาย, ทั้งหญิงทั้งชาย, จงมาร่วมอนุโมทนา,

ความทุกข์นั้นหนา, อย่าได้บังเกิดมี, ขอให้ตัวข้า, พ้นจากโลกโลกีย์,

ให้ได้พบหน้า, พระศรีอริยเมตไตย์, ได้ฟังธรรมอันอ่อนโยน, สำเร็จ

อย่านาน, บรรลุถึงเมืองแก้ว, กล่าวคือพระนิพพาน, ดับซากสังขาร,

จากโลกโลกีย์, ขอให้สันติจงมี, แก่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงเทอญฯ

 

อานิสงส์ของการเจริญเมตตา

๑.   นอนหลับเป็นสุข            ๗.  ไฟ ยาพิษ ศัตราวุธย่อมไม่ถูกต้องได้

๒. ตื่นขึ้นก็เป็นสุข        ๘.  มีจิตเป็นสมาธิเร็ว  

๓. ไม่ฝันร้าย                     ๙.  ผิวหน้าเปล่งปลั่ง ผิวพรรณผ่องใส

๔.   เป็นที่รักของมนุษย์          ๑๐.  เวลาตายก็มีสติ (ไม่หลงตาย)

๕.   แม้อมนุษย์ก็รัก          ๑๑.  เมื่อยังไม่ได้บรรลุธรรมที่ยิ่ง-

๖.   ทั้งเทวดาก็รักษา           ย่อมไปเกิดในพรหมโลก      

            

พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๓ ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค. ๒๗๕/๕๗๔


ข่าวสารงานบุญอื่นๆ