ปวารณา

คำสวดบุพพกิจ วันมหาปวารณา (ออกพรรษา)

ปะวาระณา กะระณะโต   ปุพเพ นะวะวิธัง ปุพพะกิจจัง กาตัพพัง โหติ.
ตัณฐานะสัมมัชชะนัญจะ ตัตถะ ปะทีปุชชะ ละนัญจะ อาสะนะปัญญะปะนัญจะ
ปานียะปะริโภชนะนียูปัฏฐะ ปะนัญจะ ฉันทาระหานัง ภิกขูนัง
ฉันทาหะระณัญจะ เตสัญเญวะ   อะกะตะปะวาระณานัง ปะวาระณาปิ
อาหะระณัญจะ อุตุกขานัญจะ ภิกขุคะณะนา จะ ภิกขุนีนะโมวาโท จาติ.

ตัตถะ ปุริเมสุ จะตูสุ กิจเจสุ อิทานิ สุริยาโลกัสสะ อัตถิตายะ ปะทีปะกิจจัง
นัตถิ อะปะรานิ ตีณิ . ภิกขูนัง วัตตัง ชานันเตหิ อารามิเกหิปิ ภิกขูหิปิ กะตานิ
ปะรินิฏฐิตานิ โหนติ. ฉันทาหะระณะ   ปะวาระณา   อาหะระณานิ ปะนะ
อิมิสสัง สีมายัง หัตถะปาสัง วิชะหิต๎วา นิสินนานัง ภิกขูนัง อะภาวะโต นัตถิ.

อุตุกขานัง นามะ เอตตะกัง อะติกกันตัง , เอตตะกัง อะวะสิฏฐันติ เอวัง อุตุอาจิกขะนัง ,
อุตูนีธะ ปะนะ สาสะเน เหมันตะคิมหะวัสสานานัง วะเสนะ ตีณิ โหนติ.
อะยัง วัสสาโนตุ อัส๎มิญจะ อุตุมหิ   สัตตะ จะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา
อิมินา ปักเขนะ เอโก จะ   อุโปสะโถ สัมปัตโต ปัญจะ อุโปสะถา อะติกกันตา
เท๎ว อุโปสะถา อะวะสิฏฐา   อิติ เอวัง สัพเพหิ อายัส๎มันเตหิ อุตุกขานัง
ธาเรตัพพัง. (รับว่า   เอวัง ภันเต   พร้อมกัน ผู้แก่ว่า   เอวัง อาวุโส   หรือ   เอวัง  )

ภิกขุคะณะนา นามะ อิมัส๎มิง   ปะวาระณัคเค ปะวาระณัตถายะ   สันนิปะติตา ภิกขู
เอตตะกาติ ภิกขูนัง คะณะนา. อิมัส๎มิม ปะนะ   ปะวาระณัคเค ..................( จำนวนภิกษุ)
ภิกขู สันนิปะติตา โหนติ. อิติ เอวัง สัพเพหิ อายัส๎มันเตหิ ภิกขุคะณะนาปิ
ธาเรตัพพา. (รับว่า   เอวัง ภันเต   พร้อมกัน ผู้แก่ว่า   เอวัง อาวุโส   หรือ   เอวัง  )

ภิกขุนีนะโมวาโท ปะนะ อิทานิ ตาสัง นัตถิตายะ นัตถิ. อิติ สะกะระโณกาสานัง
ปุพพะกิจจานัง กะตัตตา นิกกะระโณ กาสานัง ปุพพะกิจจานัง ปะกะติยา
ปะรินิฏฐิตัตตา เอวันตัง นะวะวิธัง ปุพพะกิจจัง ปะรินิฏฐิตัง โหติ.

นิฏฐิเต จะ ปุพพะกิจเจ สะเจ โส ทิวะโส จาตุททะสี ปัณณะระสี สามัคคีนะมัญญะตะโร
ยะถาชชะ   ปะวาระณา   ปัณณะระสี ยาวะติกา จะ ภิกขู กัมมัปปัตตา   สังฆะปะวาระณาระหา
ปัญจะ วา   ตะโต วา อะติเรกา ปะกะตัตตา ปาราชิกัง อะนาปันนา สังเฆนะ วา
อะนุกขิตตา , เต จะ โข หัตถะปาสัง อะวิชะหิต๎วา เอกะสีมายัง ฐิตา , เตสัญจะ
วิกาละโภชะนาทิ วะเสนะ วัตถุสะภาคาปัตติโย เจ นะ วิชชันติ , เตสัญจะ หัตถะ ปาเส
หัตถะปาสะโต พะหิกะระณะวะเสนะ วัชเชตัพโพ โกจิ วัชชะนียะปุคคะโล เจ นัตถิ.

เอวังตัง   ปะวาระณากัมมัง   อิเมหิ จะตูหิ ลักขะเณหิ สังคะหิตัง ปัตตะกัลลัง นามะ โหติ
กาตุง ยุตตะรูปัง   ปะวาระณากัมมัสสะ   ปัตตะกัลลัตตัง วิทิต๎วา อิทานิ   กะริยะมานา ปะวาระณา สังเฆนะ อะนุมาเนตัพพา
( พึงรับ   ปะวาระณาญัตติง ฐะเปตุง )

แบบตั้งญัตติปวารณา
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ
สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ , อัชชะ ปะวาระณา ปัณณะระสี , ยะทิ สังฆัสสะ ปัตตะกัลลัง
สังโฆ เตวาจิกัง ปะวาเรยยะ ฯ


ที่มา..หนังสือพระภิกขุปาฏิโมกข์ (ธรรมสภา)

....................................................................
ปวารณา

๑.สังฆปวารณา มีภิกษุ ๕ รูปขึ้นไปมาประชุมกัน พึงสวดบุพพกิจก่อน
ถ้าจะปวารณารูปละ ๓ หน พึงตั้งญัติติว่า

"สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อัชชะ ปะวาระณา ปัณณะระสี,
ยะทิ สังฆัสสะ ปัตตะกัลลัง, สังโฆ เตวาจิกัง ปะวาเรยยะ"


ถ้าจะปวารณา ๒ หน หรือ ๑ หน หรือจัดภิกษุมีพรรษาเท่ากัน ปวารณาพร้อมกัน
พึงเปลี่ยนเป็น "เทฺววาจิกัง" "เอกะวาจิกัง" หรือ "สะมานะวัสสิกัง" แทน " เตวาจิกัง" ตามลำดับ

ครั้นตั้งญัตติแล้ว พึงปวารณาตามลำดับพรรษา ดังนี้

"สังฆัง อาวุโส (สังฆัมภันเต) ปะวาเรมิ ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสังกายะ วา,
วะทันตุ มัง อายัสมันโต อะนุกัมปัง อุปาทายะ, ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิฯ
    ทุติยัมปิ อาวุโส (ภันเต) สังฆัง ปะวาเรมิ.........................ปะฏิกกะริสสามิ
    ตะติยัมปิ อาวุโส(ภันเต) สังฆัง ปะวาเรมิ.........................ปะฏิกกะริสสามิ"

๒.คณะปวารณา

  ๒.๑ มีภิกษุ ๔ รูป พึงตั้งญัตติว่า
"สุณาตุ เม อายัสมันโต, อัชชะ ปะวาระณา ปัณณะระสี,
ยะทายัสมันตานัง ปัตตะกัลลัง, มะยัง อัญญะมัญญัง ปะวาเรยยามะ"


ถ้ามีภิกษุ ๓ รูป พึงว่า "อายัสมันตา" แทน "อายัสมันโต"
   ครั้นตั้งญัตติแล้ว พึงปวารณาตามลำดับพรรษา ดังนี้

"อะหัง อาวุโส อายัสมันเต ปะวาเรมิ ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสังกายะ วา,
วะทันตุ มัง อายัสมันโต อะนุกัมปัง อุปาทายะ, ปัสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ,
     ทุติยัมปิ อาวุโส อายัสมันเต.............................................ปะฏิกกะริสสามิ,
     ตะติยัมปิ อาวุโส อายัสมันเต...........................................ปะฏิกกะริสสามิ,


     รูปอ่อนกว่า พึงว่า "ภันเต" แทน "อาวุโส"

   ๒.๒ มีภิกษุ ๒ รูป ไม่ต้องตั้งญัตติ แต่เปลี่ยน "อายัสมันตัง" แทน "อายัสมันเต"

๓.บุคคลปวารณา ภิกษุอยู่จำพรรษารูปเดียว ให้รอจนสิ้นเวลา เห็นว่าไม่มีภิกษุอื่นมาแล้ว
พึงอธิษฐานว่า "อัชชะ เม ปะวารณา"



สารบัญ บทสวดพระปาฏิโมกข์
บทสวด บุพพกรณ์และบุพพกิจ บทสวด ปาฏิเทสนีย์ ๔
บทสวดนำ พระภิกขุปาฏิโมกข์ บทสวด เสขิยวัตร ๗๕
บทสวด ปาราชิก ๔ บทสวด อธิกรณสมถะ ๗
บทสวด สังฆาทิเสส ๑๓ การนับพระภิกษุ
บทสวด อนิยต ๒ คำขอโอกาสแสดงพระภิกขุปาฏิโมกข์
บทสวด นิสสัคคียปาจิตตีย์ ๓๐ ปฏิทินปาติโมกข์ ปี 2563
บทสวด ปาจิตตีย์ ๙๒ การแบ่งฤดู



การสวดปาฏิโมกข์ย่อ อันตราย ๑๐ อย่าง อุเทศ การยกขึ้นแสดง ๕ ข้อควรรู้เกี่ยวกับพระภิกขุปาฏิโมกข์
อุโบสถขันธกะ อุโบสถ คำขอโอกาสแสดงปาฏิโมกข์ คำขอโอกาสตั้งญัตติปวารณา
ปวารณา โอวาทปาฏิโมกขคาถา โอวาทะปาฏิโมกขาทิปาโฐ บทสวด ตายนคาถา
บทสวด สัจจะกิริยาคาถา บทสวด สีลุทเทสปาฐะ บทสวด ทำวัตรพระ สมณสัญญา