พระพุทธศาสนสุภาษิต

อัตตวรรค คือ หมวดตน

๑. อตฺตา หเว ชิตํ เสยฺโย.
ชนะตนนั่นแหละ เป็นดี.
ขุ. ธ. ๒๕/๒๙.

๒. อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม.
ได้ยินว่าตนแล ฝึกได้ยาก.
ขุ. ธ. ๒๕/๓๖.

๓. อตฺตา สุทฺนฺโต ปุริสสฺส โชติ.
ตนที่ฝึกดีแล้ว เป็นแสงสว่างของบุรุษ.
สํ. ส. ๑๕/๒๔๘.

๔. อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ.
ตนแล เป็นที่พึ่งของตน.
ขุ. ธ. ๒๕/๓๖,๖๖.

๕. อตฺตา หิ อตฺตโน คติ.

ตนเทียว เป็นคติของตน.
ขุ. ธ. ๒๕/๖๖.

๖ . อตฺตา หิ ปรมํ ปิโย.
ตนแล เป็นที่รักยิ่ง.
องฺ . สตฺตก. ๒๓/ ๙๙.

๗ . นตฺถิ อตฺตสมํ เปมํ.
ความรัก ( อื่น) เสมอด้วยตนไม่มี.
สํ . ส. ๑๕/ ๙.

๘ . อตฺตนา ว กตํ ปาปํ อตฺตนา สงฺกิลิสฺสติ.
ตนทำบาปเอง ย่อมเศร้าหมองเอง.
ขุ . ธ. ๒๕/ ๓๗. ขุ. มหา. ๒๙/ ๓๗. ขุ. จู. ๓๐/ ๑๑๖.

๙ . อตฺตนา อกตํ ปาปํ อตฺตนา ว วิสุชฺฌติ.
ตนไม่ทำบาปเอง ย่อมหมดจดเอง.
ขุ . ธ. ๒๕/ ๓๗. ขุ. มหา. ๒๙/ ๓๗. ขุ. จู. ๓๐/ ๑๑๖.

๑๐ . อตฺตตฺถปญฺญา อสุจี มนุสฺสา.
มนุษย์ผู้เห็นแก่ประโยชน์ตน เป็นคนไม่สะอาด.
ขุ . สุ. ๒๕๑๓๓๙.

๑๑ . อตฺตานํ ทมยนฺติ ปณฺฑิตา.
บัณฑิต ย่อมฝึกตน.
ม . ม. ๑๓/ ๔๘๗. ขุ. ธ. ๒๕/ ๒๕. ขุ. เถร. ๒๖/ ๓๘๙.

๑๒ . อตฺตานํ ทมยนตฺติ สุพฺพตา.
ผู้ประพฤติดี ย่อมฝึกตน.
ขุ . ธ. ๒๕/ ๓๔.

๑๓ . อตฺตนา หิ สุทนฺเตน นาถํ ลภติ ทุลฺลภํ.
ผู้มีตนฝึกดีแล้ว ย่อมได้ที่พึ่งซึ่งได้ยาก.
ขุ . ธ. ๒๕/ ๓๖.

๑๔ . โย รกฺขติ อตฺตานํ รกฺขิโต ตสฺส พาหิโร.
ผู้ใดรักษาตนได้ ภายนอกของผู้นั้นก็เป็นอันรักษาด้วย.
องฺ . ฉกฺก. ๒๒/ ๔๑๗.

๑๕ . อตฺตานญฺเจ ปิยํ ชญฺา รกฺเขยฺย นํ สุรกฺขิตํ.
ถ้ารู้ว่าตนเป็นที่รัก ก็ควรรักษาตนนั้นให้ดี.
ขุ . ธ. ๒๕/ ๓๖.

๑๖ . ปริโยทเปยฺย อตฺตานํ จิตฺตเกฺลเสหิ ปณฺฑิโต.
บัณฑิตพึงทำตนให้ผ่องแผ้วจากเครื่องเศร้าหมองจิต .
สํ . มหา. ๑๙/ ๒๙. ขุ. ธ. ๒๕/ ๒๖.

๑๗ . อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรา ยถญฺ มนุสาสติ.
ถ้าพร่ำสอนผู้อื่นฉันใด ก็ควรทำตนฉันนั้น.
ขุ . ธ. ๒๕/ ๓๖.

๑๘ . อตฺตนา โจทยตฺตานํ.
จงเตือนตนด้วยตนเอง .
ขุ . ธ. ๒๕/ ๖๖.

๑๙ . ปฏิมํเสตมตฺตนา.
จงพิจารณาตนด้วยตนเอง .
ขุ . ธ. ๒๕/ ๖๖.

๒๐. ทุคฺคา อุทฺธรถตฺตานํ ปงฺเก สนฺโนว กุญฺชโร.
จงถอนตนขึ้นจากหล่ม เหมือนช้างตกหล่มถอนตนขึ้นฉะนั้น.
ขุ . ธ. ๒๕/ ๕๘.

๒๑ . อตฺตานุรกฺขี ภว มา อฑยฺหิ.
จงเป็นผู้ตามรักษาตน อย่าได้เดือดร้อน.
ขุ . ชา. ปกิณฺณก. ๒๗/ ๓๗๒.

๒๒ . อตฺตานญฺจ น ฆาเตสิ.
อย่าฆ่าตนเสียเลย .
ขุ . ชา. มหา. ๒๘/ ๒๗๙.

๒๓ . อตฺตานํ น ทเท โปโส.
บุรุษไม่พึงให้ซึ่งตน .
สํ . ส. ๑๕/ ๖๐.

๒๔ . อตฺตานํ น ปริจฺจเช.
บุรุษไม่พึงสละเสียซึ่งตน .
สํ . ส. ๑๕/ ๖๐.

๒๕ . อตฺตานํ นาติวตฺเตยฺย.
บุคคลไม่ควรลืมตน .
ขุ . ชา. ตึส. ๒๗/ ๕๐๓.

๒๖ . อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน พหุนาปิ น หาปเย.
ไม่ควรพร่าประโยชน์ตน เพราะประโยชน์ผู้อื่นแม้มาก.
ขุ . ธ. ๒๕/ ๓๗.

๒๗ . อตฺตานญฺเจ ปิยํ ชญฺ า น นํ ปาเปน สํยุเช.
ถ้ารู้ว่าตนเป็นที่รัก ก็ไม่ควรประกอบตนนั้นด้วยความชั่ว.
สํ . ส. ๑๕/ ๑๐๔.

๒๘ . ยทตฺตครหึ ตทกุพฺพมาโน.
ติตนเองเพราะเหตุใด ไม่ควรทำเหตุนั้น.
ขุ . ส. ๒๕/ ๔๘๖.


อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน พหุนาปิ น หาปเย
อตฺตทตฺถมภิญฺ  าย สทตฺถปสุโต สิยา.
บุคคไม่ควรพล่าประโยชน์ของตน เพราะประโยชน์ผู้อื่นแม้มาก
รู้จักประโยชน์ของตนแล้ว พึงขวนขวายในประโยชน์ของตน
( พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/ ๓๗.

อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรา ยถญฺ มนุสาสติ
สุทนฺโต วต ทเมถ อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม.
ถ้าสอนผู้อื่นฉันใด พึงทำตนฉันนั้น ผู้ฝึกตนดีแล้ว
ควรฝึกผู้อื่น ได้ย้อนว่าตนแลฝึกยาก
( พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/ ๓๖.

อตฺตานเมว ปฐมํ ปฏิรูเป นิเวสเย
อถญฺญ  มานุสาเสยฺย น กิลิสฺเสยฺย ปณฺฑิโต.
บัณฑิตพึงตั้งตนไว้ในคุณอันสมควรก่อน
สอนผู้อื่นภายหลังจึงไม่มัวหมอง.
( พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/ ๓๖.



อตฺตา
หิ อติตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา
อตฺตนา หิ สุทนฺเตน นาถํ ลภติ ทุลฺลภํ.
ตนแล เป็นที่พึ่งของตน คนอื่น ใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้
ก็บุคคลมีตนฝึกฝนดีแล้ว ย่อมได้ที่พึ่งที่ได้ยาก.
( พุทฺธ ) ขุ. ธ. ๒๕/ ๓๖.

ยสฺส อจฺจนฺตทุสฺสีลฺยํ มาลุวา สาลมิโวตฺถตํ
กโรติ โส ตถตฺตานํ ยถา นํ อิจฺฉตี ทิโส.
ผู้ใดมีความไร้ศีลธรรมครอบคลุม เหมือนย่านทรายคลุมไม้สาละ
ผู้นั้นชื่อว่าทำตนเหมือนถูกผู้ร้ายคุมตัว .
( พุทฺธ ) ขุ. ธ. ๒๕/ ๓๗.

นตฺถิ อตฺตสมํ เปมํ นตฺถิ ธญฺญสมํ ธนํ
นตฺถิ ปญฺญาสมา อาภา วุฏฺฐิ เว ปรมา สรา.
สิ่งที่รัก ( อื่น ) เสมอด้วยตนไม่มี, ทรัพย์ ( อื่น )
เสมอด้วยข้าวเปลือกไม่มี, แสงสว่าง ( อื่น ) เสมอด้วยปัญญาไม่มี,
ฝนแลเป็นสระอย่างยิ่ง.
( พุทฺธ ) สํ. ส. ๑๕/ ๙.


หมวดหมู่ สารบัญ
๑. อัตตวรรค คือ หมวดตน ๑๘. มัจจุวรรค คือ หมวดมฤตยู
๒. อัปปมาทวรรค คือ หมวดไม่ประมาท ๑๙. มิตตวรรค คือ หมวดมิตร
๓. กัมมวรรค คือ หมวดกรรม ๒๐. ยาจนาวรรค คือ หมวดขอ
๔ . กิเลสวรรค คือ หมวดกิเลส ๒๑. ราชวรรค คือ หมวดพระราชา
๕ . โกธวรรค คือ หมวดโกรธ ๒๒. วาจาวรรค คือ หมวดวาจา
๖ . ขันติวรรค คือ หมวดอดทน ๒๓. วิริยวรรค คือ หมวดเพียร
๗ . จิตตวรรค คือ หมวดจิต ๒๔. เวรวรรค คือ หมวดเวร
๘ . ชยวรรค คือ หมวดชนะ ๒๕. สัจจวรรค คือ หมวดความสัตย์
๙. ทานวรรค คือ หมวดทาน ๒๖. สติวรรค คือ หมวดสติ
๑๐ . ทุกขวรรค คือ หมวดทุกข์ ๒๗. สัทธาวรรค คือ หมวดศรัทธา
๑๑ . ธัมมวรรค คือ หมวดธรรม ๒๘. สันตุฏฐิวรรค คือ หมวดสันโดษ
๑๒. ปกิณณกวรรค คือ หมวดเบ็ดเตล็ด ๒๙. สมณวรรค คือ หมวดสมณะ
๑๓. ปัญญาวรรค คือ หมวดปัญญา ๓๐. สามัคคีวรรค คือ หมวดสามัคคี
๑๔. ปมาทวรรค คือ หมวดประมาท ๓๑. สีลวรรค คือ หมวดศีล
๑๕. ปาปวรรค คือ หมวดบาป ๓๒. สุขวรรค คือ หมวดสุข
๑๖. ปุคคลวรรค คือ หมวดบุคคล ๓๓. เสวนาวรรค คือ หมวดคบหา
๑๗. ปุญญวรรค คือ หมวดบุญ ๓๔. หมวด คน


         
อักษรย่อบอกนามคัมภีร์
องฺ. อฏฺฐก. องฺคุตฺตรนิกาย   อฏฺฐกนิปาต
องฺ. จตุกฺก. องฺคุตฺตรนิกาย   จตุกฺกนิปาต
องฺ. ฉกฺก. องฺคุตฺตรนิกาย   ฉกฺกกนิปาต
องฺ. ติก. องฺคุตฺตรนิกาย   ติกนิปาต
องฺ. ทสก. องฺคุตฺตรนิกาย   ทสกนิปาต
องฺ. ปญฺจก. องฺคุตฺตรนิกาย   ปญฺจกนิปาต
องฺ. สตฺตก. องฺคุตฺตรนิกาย   สตฺตกนิปาต
ขุ. อิติ. องฺคุตฺตรนิกาย   อิติวุตฺตก
ชุ. อุ. ขุทฺทกนิกาย   อุทาน
ขุ. จริยา ขุทฺทกนิกาย   จริยาปิฏก
ขุ. จู. ขุทฺทกนิกาย ชาดก จูฬนิทฺเทส
ขุ. ชา. อฏฺฐก. ขุทฺทกนิกาย ชาดก อฏฺฐกนิปาต
ขุ. ชา. อสีติ. ขุทฺทกนิกาย ชาดก อสีตินิปาต
ขุ. ชา. เอก. ขุทฺทกนิกาย ชาดก เอกนิปาต
ขุ. ชา. จตฺตาฬีส. ขุทฺทกนิกาย ชาดก จตฺตาฬีสนิปาต
ขุ. ชา. จตุกฺก. ขุทฺทกนิกาย ชาดก จตุกฺกนิปาต
ขุ. ชา. ฉกฺก. ขุทฺทกนิกาย ชาดก ฉกฺกนิปาต
ขุ. ชา. ตึส. ขุทฺทกนิกาย ชาดก ตึสนิปาต
ขุ. ชา. ติก. ขุทฺทกนิกาย ชาดก ติกนิปาต
ขุ. ชา. เตรส ขุทฺทกนิกาย ชาดก เตรสนิปาต
ขุ. ชา. ทฺวาทส. ขุทฺทกนิกาย ชาดก ทฺวาทสนิปาต
ขุ. ชา. ทสก ขุทฺทกนิกาย ชาดก ทสกนิปาต
ขุ. ชา. ทุก. ขุทฺทกนิกาย ชาดก ทุกนิปาต
ขุ. ชา. นวก. ขุทฺทกนิกาย ชาดก นวกนิปาต
ขุ. ชา. ปกิณฺณก. ขุทฺทกนิกาย ชาดก ปกิณฺณกนิปาต
ขุ. ชา. ปญฺจก. ขุทฺทกนิกาย ชาดก ปญฺจกนิปาต
ขุ. ชา. ปญฺญาส. ขุทฺทกนิกาย ชาดก ปญฺญาสนิปาต
ขุ. ชา. มหา. ขุทฺทกนิกาย ชาดก มหานิปาต
ขุ. ชา. วีสติ. ขุทฺทกนิกาย ชาดก วีสตินิปาต
ขุ. ชา. สฏฺฐี. ขุทฺทกนิกาย ชาดก สฏฺฐีนิปาต
ขุ. ชา. สตฺตก ขุทฺทกนิกาย ชาดก สตฺตกนิปาต
ขุ. ชา. สตฺตติ. ขุทฺทกนิกาย ชาดก สตฺตตินิปาต
ขุ. เถร. ขุทฺทกนิกาย   เถราคาถา
ขุ. เถรี. ขุทฺทกนิกาย   เถรีคาถา
ขุ. ธ. ขุทฺทกนิกาย   ธมฺมปทคาถา
ขุ. ปฏิ. ขุทฺทกนิกาย   ปฏิสมฺภิทามคฺค
ขุ. พุ. ขุทฺทกนิกาย   พุทฺธวํส
ขุ. มหา. ขุทฺทกนิกาย   มหานิทฺเทส
ขุ. วิ. ขุทฺทกนิกาย   วิมานวตฺถุ
ขุ. เปต. ขุทฺทกนิกาย   เปตวตฺถุ
ขุ. สุ. ขุทฺทกนิกาย   สตฺตนิปาต
ที. ปาฏิ. ทีฆนิกาย   ปาฏิกวคฺค
ที. มหา. ทีฆนิกาย   มหาวคฺค
ม. อุป. มชฺฌิมนิกาย   อุปริปณฺณาสก
ม. ม. มชฺฌิมนิกาย   มชฺฌิมปณฺณาสก
วิ. จุล. วินัยปิฏก   จุลฺลวคฺค
วิ. ภิ. วินัยปิฏก   ภิกฺขุณีวิภงฺค
วิ. มหา. วินัยปิฏก   มหาวคฺค
วิ. มหาวิภงฺค. วินัยปิฏก   มหาวิภงฺค
สํ. นิ. สํยุตฺตนิกาย   นิทานวคฺค
สํ. มหา. สํยุตฺตนิกาย   มหาวารวคฺค
สํ. ส. สํยุตฺตนิกาย   สคาถวคฺค